สินค้าเป็นเงินเชื่อ 80,000 บาท จากร้านค้าแห่งหนึ่ง เงื่อนไข \( 2 / 10, N / 30 \) ชำระหนี้เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ให้คำนวณหาวันครบกำหนด ก. 9 สิงหาคม 2558 ข. 10 สิงหาคม 2558 ค. 30 สิงหาคม 2558 ง. 31 สิงหาคม 2558 15. จากข้อ 14 ให้คำนวณหาส่วนลดเงินสดที่จะได้รับ ก. 1,600 บาท ข. 8,000 บาท ค. 800 บาท ง. ไม่มีส่วนลดเงินสด 16. จากข้อ 14 ให้คำนวณจำนวนเงินที่ร้านปันผลการค้า ต้องจ่ายทั้งหมด ก. 80,000 บาท ข. 78,400 บาท ค. 79,200 บาท ง. 72,000 บาท 17. "VAT" หมายถึงข้อใด ก. ภาษีซื้อ ข. ภาษีขาย ค. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ง. ภาษีการค้า 18. ข้อใดคือภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ประกอบการจ่ายให้แก่ ผู้ขายสินค้าหรือบริการเมื่อซื้อสินค้าหรือบริการ ก. ภาษีซื้อ ข. ภาษีขาย ค. ภาษีมูลค่าเพิ่ม ง. ภาษีการค้า (23. จากข้อ 21 ให้คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ/ขอ คืนเงิน ก. ภาษีที่ต้องชำระ 3,500 บาท ข. ภาษีที่ขอคืนเงิน 8,400 บาท ค. ภาษีที่ต้องชำระ 4,900 บาท ง. ภาษีที่ขอคืนเงิน 4,900 บาท 24. ขายสินค้าให้ร้าน ก เป็นเงินเชื่อ 15,000 บาท เงื่อนไข \( 2 / 10 \), N/30 F.O.B Destination และจ่ายค่ ขนส่ง 500 บาท อยากทราบว่าเมื่อครบ 10 วันถ้า กิจการได้รับการชำระเงินจะได้รับจำนวนเท่าใด ก. 15,000 บาท ข. 14,700 บาท ค. 15,300 บาท ง. 15,500 บาท 25. นาย ก ซื้อสินค้าเป็นเงินสด 30,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม \( 7 \% \) อยากทราบว่าต้องจ่ายเงินเท่า ก. 32,100 บาท ข. 30,000 บาท ค. 9,000 บาท ง. 32,000 บาท 26. กิจการส่วนใหญ่นิยมบันทึกรายการค้าโดยใช้ว้ธีใ ก. ระบบบัญชีเดียว ข. ระบบบัญชีบริห ค. ระบบบัญชีคู่ ง. ระบบบัญชีต้น
Real Tutor Solution
Answer
Solution
Sign in to Unlock Answers for Free!
A Learning Platform Trusted by Millions of Real Students and Teachers.
Reviewed and approved by the UpStudy tutoring team
Mind Expander
การคำนวณวันครบกำหนดสำหรับเงื่อนไข \(2/10, N/30\) จะเริ่มนับจากวันที่ออกใบแจ้งหนี้ เมื่อชำระหนี้ในวันที่ 20 กรกฎาคม หลักการคือถ้าชำระภายใน 10 วันจะมีส่วนลด 2% ส่วนวันครบกำหนดจะอยู่หลังจาก 30 วัน จึงคิดได้ว่าวันครบกำหนดคือ 19 สิงหาคม 2558 แต่เพราะเดือนนั้นมี 31 วัน ข้อที่ถูกต้องคือ 31 สิงหาคม 2558 ส่วนลดเงินสด เมื่อมีการชำระภายใน 10 วัน ก็จะได้รับการลด 2% จาก 80,000 บาท คือ 1,600 บาท ถ้าชำระหลังจากนั้นก็จะเสียเต็มจำนวน ส่วนเงินที่ต้องจ่ายรวมเมื่อไม่ได้รับส่วนลดจะเป็น 78,400 บาท หรือหากคำนวณหลังจากหักส่วนลดแล้วก็ถือเป็นค่าใช้จ่ายสุทธิทั้งหมดที่ต้องจ่ายให้ร้านค้านั่นเอง